ประกาศรายชื่อผู้ได้รับทุนการศึกษาสำหรับนักเรียนเรียนดี คณะวิเทศศึกษา
โครงการปรับปรุงกระบวนการทำงานด้วยเครื่องมือ LEAN
- วันที่จัดกิจกรรม : 26 กรกฎาคม 2566
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา (FIS)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- คณบดีคณะวิเทศศึกษา ที่ปรึกษา
- คณบดีคณะการบริการและการท่องเที่ยว ที่ปรึกษา
- รองคณบดีฝ่ายบริหารและประกันคุณภาพ คณะวิเทศศึกษา ประธาน
- รองคณบดีฝ่ายบริหารและประกันคุณภาพ คณะการบริการและการท่องเที่ยว รองประธาน
- นางสาวชุลีพร ประทีป ณ ถลาง กรรมการ
- นางสาววาธิณี รอดสกุล กรรมการ
- นางสาวประภัสรา กิจไพบูลย์ทวี กรรมการและเลขานุการ
- นางสาวนิตยา ประทีป ณ ถลาง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
- วัตถุประสงค์
- เพื่อให้ผู้บริหารและบุคลากรสายอำนวยการมีความรู้ ความเข้าใจหลักการคิด และการทำงานแบบ LEAN
- เพื่อให้ผู้บริหารและบุคลากรสายอำนวยการสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปปรับปรุงกระบวนการทำงานด้วยเครื่องมือ LEAN ขั้นพื้นฐาน
- งบประมาณที่ขอ: 38,020 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 36,270 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 13 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 13 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.6
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.57
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ควรจัดอบรมนอกสถานที่
- ให้มีการอบรมลักษณะนี้ต่อไป เพื่อให้บุคลากรเข้าใจระบบงานอย่างต่อเนื่อง
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- ไม่มี
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- ไม่มี
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 5: ปรับปรุงระบบการบริหารงานให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน
- เป้าประสงค์: พัฒนาระบบการดำเนินงานให้ได้มาตรฐาน
- กลยุทธ์ที่ 1 ระบบพัฒนางานที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศในการดำเนินงาน (Excelence-oriented Performance)
โครงการ CEFR for Teachers of English in Phuket@FIS
- วันที่จัดกิจกรรม : 30 มิถุนายน 2566
- กลุ่มงาน: สาขาภาษาต่างประเทศ (Foreign Languages)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- อาจารย์นภชา ประภาวดี
- ดร.ปาริชาต เจริญวิวัฒนศรี
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- วัตถุประสงค์
- เพื่อให้ผู้สอนภาษาอังกฤษในจังหวัดภูเก็ตได้รู้จักและเข้าใจกรอบ CEFR
- เพื่อให้ผู้สอนภาษาอังกฤษได้นำ กรอบ CEFR ไปวางแผนจัดการการการสอน
- เพื่อประชาสัมพันธ์คณะวิเทศศึกษา
- งบประมาณที่ขอ: 10,000 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 750 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 30 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 20 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.81
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.81
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ขอให้คณะวิเทศศึกษาจัดอบรมเตรียมความพร้อมเพื่อสอบ CEFR
- ขอให้ผู้จัดเพิ่มเวลามากกว่านี้
- เสนอให้จัด FIS Camp สำหรับนักเรียนที่สนใจศึกษาต่อ ณ คณะวิเทศศึกษา ระหว่างวันที่ 7-8 ธันวาคม 2566
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- จะดำเนินการต่อไป
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- ไม่มี
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 1: ผลิตหลักสูตรและบริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
- เป้าประสงค์: พัฒนากิจกรรมทางวิชาการที่หลากหลาย
- กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาหลักสูตรให้มีมาตรฐาน มีความหลากหลาย ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงาน และมีการจัดการศึกษาที่ยืดหยุ่น
- เป้าประสงค์: จัดกิจกรรมเชิงรุกกับคู่ความร่วมมือ
- กลยุทธ์ที่ 2 ผลิตหลักสูตรบริการวิชาการ non-degree/Up-skill/re-skill ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพนักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางด้านภาษาอังกฤษ Fun English at FIS
- วันที่จัดกิจกรรม : 15 กรกฎาคม 2566
- กลุ่มงาน: สาขาภาษาต่างประเทศ (Foreign Languages)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- อาจารย์นภชา ประภาวดี
- ดร. ปาริชาต เจริญวิวัฒนศรี
- อาจารย์รัตนา เจงพิบูลพงศ์
- Mr. Ross Brockie
- Mr. Davin Scampton
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
- วัตถุประสงค์
- เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในรูปแบบที่สนุกสนานเสริมสร้างทักษะทางภาษาอังกฤษให้กับนักเรียนในทางที่ดีขึ้น
- เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะในการเข้าใจเนื้อหาและศัพท์ภาษาอังกฤษอย่างสนุกสนานไปพร้อม ๆ กับการเรียนรู้
- เพื่อพัฒนาทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษในสถานการณ์ที่เป็นปฏิสัมพันธ์และทำให้สามารถพัฒนาความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษและความคล่องตัวในการพูดได้
- งบประมาณที่ขอ: 120,000 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 85,649 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 235 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 235 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.51
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.55
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- เพิ่มจำนวนชั่วโมงมากขึ้น
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- จะดำเนินการต่อไป
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- ไม่มี
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 1: ผลิตหลักสูตรและบริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
- เป้าประสงค์: สร้างรายได้จากการให้บริการวิชาการที่ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน
- กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาหลักสูตรให้มีมาตรฐาน มีความหลากหลาย ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงาน และมีการจัดการศึกษาที่ยืดหยุ่
- กลยุทธ์ที่ 2 ผลิตหลักสูตรบริการวิชาการ non-degree/Up-skill/re-skill ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงาน
โครงการพัฒนานักพูดในที่สาธารณะโดยคณะวิเทศศึกษาสำหรับนักเรียนโรงเรียนเทศบาลปลูกปัญญา ในพระอุปถัมภ์ฯ (Becoming a Better Public Speaker by FIS for Students from Pluk Panya Municipal School)
- วันที่จัดกิจกรรม : 17 มิถุนายน 2566
- กลุ่มงาน: สาขาภาษาต่างประเทศ (Foreign Languages)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- อาจารย์นภชา ประภาวดี
- ดร. ปาริชาต เจริญวิวัฒนศรี
- ดร.กรธัช ชาติอารยะวดี
- Aj.Peter Coan
- Dr.Jonathan Hugo
- Aj.Richard Mansbridge
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
- วัตถุประสงค์
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจกระบวนการในการเตรียมการพูด
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจและประยุกต์ใช้ทักษะในการนำเสนอ
- เพื่อสร้างความมั่นใจในการพูดในที่สาธารณะให้กับผู้เข้าอบรม
- เพื่อประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนรู้จักคณะวิเทศศึกษา
- งบประมาณที่ขอ: 32,000 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 25,309 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 40 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 40 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.78
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.57
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- เพิ่มเวลาฝึกปฏิบัติมากขึ้น
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- ดำเนินการในโอกาสต่อไป
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- ไม่มี
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 1: ผลิตหลักสูตรและบริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
- เป้าประสงค์: พัฒนากิจกรรมทางวิชาการที่หลากหลาย
- กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาหลักสูตรให้มีมาตรฐาน มีความหลากหลาย ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงาน และมีการจัดการศึกษาที่ยืดหยุ่น
- เป้าประสงค์: สร้างรายได้จากการให้บริการวิชาการที่ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน
- กลยุทธ์ที่ 2 ผลิตหลักสูตรบริการวิชาการ non-degree/Up-skill/re-skill ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงาน
โครงการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
- วันที่จัดกิจกรรม : 10 สิงหาคม 2566
- กลุ่มงาน:สาขาภาษาต่างประเทศ (Foreign Languages
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- อาจารย์นภชา ประภาวดี
- ดร.ปาริชาต เจริญวิวัฒนศรี
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นางสาววาธินี รอดสกุล
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
- วัตถุประสงค์
- เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
- เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษในศาสตร์อื่น ๆ
- เพื่อประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนรู้จักคณะวิเทศศึกษา
- งบประมาณที่ขอ: 35,000 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 24,257.7 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 70 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 70 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.57
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.53
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ควรเพิ่มระยะเวลามากกว่านี้
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- ปรับเปลี่ยนตามข้อเสนอแนะในโอกาสต่อไป
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- –
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 1: ผลิตหลักสูตรและบริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
- เป้าประสงค์: สร้างรายได้จากการให้บริการวิชาการที่ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน
- กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาหลักสูตรให้มีมาตรฐาน มีความหลากหลาย ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงาน และมีการจัดการศึกษาที่ยืดหยุ่น
- เป้าประสงค์: สร้างรายได้จากการให้บริการวิชาการที่ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน
- กลยุทธ์ที่ 2 ผลิตหลักสูตรบริการวิชาการ non-degree/Up-skill/re-skill ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงาน
โครงการ Fun English through Technology at FIS, PSU PHUKET
- วันที่จัดกิจกรรม : 28 – 30 กรกฎาคม 2566
- กลุ่มงาน:บริการวิชาการ (Academic Services)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- อาจารย์นภชา ประภาวดี
- ดร.ปาริชาต เจริญวิวัฒนศรี
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นางสาววาธินี รอดสกุล
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
- วัตถุประสงค์
- เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านกิจกรรมที่ใช้เทคโนโลยี
- เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารและการจัดการสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
- เพื่อพัฒนาทักษะการมีส่วนร่วมทำงานกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
- เพื่อประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนรู้จักคณะวิเทศศึกษา
- งบประมาณที่ขอ: –
- งบประมาณใช้จริง: –
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 72 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 72 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.4
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.47
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ควรเพิ่มเวลาในการอบรมมากกว่านี้
- ควรเปลี่ยนอาหารให้มีความหลากหลายมากกว่านี้ เช่น สปาเกตตี้ สเต็กหรืออาหารที่แต่ละวันไม่ซ้ำเดิม
- ควรเพิ่มกิจกรรมกับรุ่นพี่มากกว่านี้
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- ปรับเปลี่ยนตามข้อเสนอแนะในโอกาสต่อไป
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- คณะฯ ควรปรับปรุงและดูแลห้องเรียนและห้องปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องสตูดิโออย่างสม่ำเสมอ และเตรียมความพร้อมสำหรับพร้อมใช้งาน
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 1: ผลิตหลักสูตรและบริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
- เป้าประสงค์: หลักสูตรของคณะเป็นหลักสูตรนานาชาติที่มีการจัดการเรียนการสอนที่ได้มาตรฐานและทันสมัย
- กลยุทธ์ที่ 2 ผลิตหลักสูตรบริการวิชาการ non-degree/Up-skill/re-skill ที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงาน
คลิกลิ้งก์ด้านล่าง หรือสแกน QR Code เพื่อรับการแจ้งเตือนกิจกรรมต่าง ๆ ผ่าน Line Application
โครงการสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรประจาปี 2566 (FIS Outing 2023)
- วันที่จัดกิจกรรม : 14 – 16 มิถุนายน 2566
- กลุ่มงาน:คณะวิเทศศึกษา (FIS)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- คณบดี
- รองคณบดีฝ่ายบริหารและประกันคุณภาพ
- ดร.ปาริชาต เจริญวิวัฒนศรี
- ดร.สุดฤดี บารุง
- อาจารย์สุรีรัตน์ จิตตเสถียร
- นางสาวประภัสรา กิจไพบูลย์ทวี
- นางสาวนารีรัตน์ จันทน์แดง
- นางสาวน้าฝน เอ่งฉ้วน
- นางสาววาธิณี รอดสกุล
- นางสาวเอมิกา พจน์สมพงษ์
- Mr.Wanli Zheng
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้า
- นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
- วัตถุประสงค์
- เพื่อให้บุคลากรได้สื่อสารกับคณะฯ มากขึ้น
- เพื่อให้ความรู้ กระตุ้นและพัฒนาศักยภาพให้แก่บุคลากรในการสร้างแนวทางการพัฒนาคณะฯ
- เพื่อสร้างความผูกพันภายในองค์กร
- งบประมาณที่ขอ: 182,580 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 117,898 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 42 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 41 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.62
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.71
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ควรมีการสำรวจเรื่องวันและเวลาในการจัดกิจกรรม
- ควรมีช่วงให้นำเสนองานที่ได้รับมอบหมายสั้นๆเพื่อรับฟังความคิดเห็นของอาจารย์ท่านอื่นที่ไม่ได้รับผิดชอบในหัวข้อเดียวกันเพิ่มเติมจะได้ความคิดเห็นที่มีความครอบคลุมในทุกด้าน
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- ได้มีการแจ้งกำหนดการล่วงหน้าไปแล้ว ในครั้งถัดไปจะดำเนินการแจ้งล่วงหน้าให้เร็วและทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
- สำหรับการนำเสนอจะดำเนินการแจ้งผู้บริหารฯ ให้พิจารณาเพิ่มระยะเวลาในการจัดกิจกรรมครั้งถัดไป
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: –
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาองค์กรเพื่อความยั่งยื่น
- กลยุทธ์ที่ 3 Happy Workplace and Happy School
โครงการอบรมการใช้งานโปรแกรม Power BI
- วันที่จัดกิจกรรม : 2 มีนาคม 2566
- กลุ่มงาน:คณะวิเทศศึกษา (FIS)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- เกรียงศักดิ์ พุฒนวล
- วัตถุประสงค์
- เพื่อให้บุคลากรสายอำนวยการของคณะฯ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโปรแกรม Power BI
- เพื่อให้บุคลากรสายอำนวยการของคณะฯ สามารถนำข้อมูลเกี่ยวกับงานของตัวเอง นำเสนอในรูปแบบของ DashBoard ได้
- เพื่อเพิ่มจำนวนฐานข้อมูลที่แสดงผ่านโปรแกรม Power BI ของคณะฯ
- งบประมาณที่ขอ: 2,450 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 2,450 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 13 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 12 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.83
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.61
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- เพิ่มเวลาในการอบรม
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
พิจารณาการจัดอบรมครั้งที่ 2 โดยมีการอ้างอิงเนื้อหาจากครั้งที่ 1 แล้วเพิ่มเติมเนื้อหาส่วนอื่น
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- เนื่องจากผู้เข้าอบรมไม่เคยใช้งานโปรแกรม Power BI ทำให้การอธิบายแต่ละหัวข้อใช้เวลานานพอสมควร ทำให้เนื้อหาบางอย่างไม่สามารถลงรายละเอียดได้มาก เนื่องจากเวลาในการอบรมจำกัด
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาองค์กรเพื่อความยั่งยื่น
- กลยุทธ์ที่ 2 มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ – จำนวนฐานข้อมูลที่แสดงผ่านโปรแกรม Power BI
โครงการอบรม “การทำวิจัยในชั้นเรียนสำหรับอาจารย์ผู้สอนภาษา”
- วันที่จัดกิจกรรม : 22 มีนาคม 2566
- กลุ่มงาน:วิจัย (Research)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ: –
- วัตถุประสงค์: –
- งบประมาณที่ขอ: 3,000 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 3,000 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: – คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: – คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.8
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: –
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน: –
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ: –
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: –
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาองค์กรเพื่อความยั่งยื่น
- กลยุทธ์ที่ 2 มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ – จำนวนฐานข้อมูลที่แสดงผ่านโปรแกรม Power BI
กิจกรรมเดือนรอมฎอน
- วันที่จัดกิจกรรม : 31 มีนาคม 2566
- กลุ่มงาน:กิจการนักศึกษา (Student activities)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- ดร.ปาริชาต เจริญวิวัฒนศรี
- ดร.เอมีล่า แวมูซอ
- วัตถุประสงค์
- เพื่อส่งเสริมกิจกรรรมพหุวัฒนธรรม
- งบประมาณที่ขอ: 5,000 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 4,838 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 20 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 35 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.83
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.95
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเห็นว่าเป็นกิจกรรมที่ดี มีประโยชน์ต่อนักศึกษามุสลิม
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเห็นว่าเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรมุสลิมมาร่วมตัวและทำความรู้จักกัน
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมอยากให้จัดกิจกรรมนี้อีกในปีถัดไป
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
มีความประสงค์จัดกิจกรรมอีกในปีถัดไป
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- ผู้จัดควรสำรวจจำนวนนักศึกษามุสลิม
- ผู้จัดควรขอความร่วมมืออาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ประจำวิชา เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ
- ผู้จัดควรหาห้อง/พื้นที่สำหรับละหมาดที่สามารถบรรจุผู้เข้าร่วมได้ตั้ง 20 คนขึ้นไป
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 3: ยกระดับความเป็นนานาชาติ (Enhancing Internationalization)
- เป้าประสงค์ 1. ยกระดับความเป็นนานาชาติของคณะวิเทศศึกษา (Goal 1: To enhance international credentials
- กลยุทธ์ 1: พัฒนาศักยภาพด้านภาษา และส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรมให้กับนักศึกษาและบุคลากร (Tactic 1: To improve students’ and staff’s foreign language competencies and multi-cultural understanding)
โครงการ Valentine’s Day
- วันที่จัดกิจกรรม : 14 กุมภาพันธ์ 2566
- กลุ่มงาน:กิจการนักศึกษา (Student activities)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- ดร.ปาริชาต เจริญวิวัฒนศรี
- นางสาวรัตนา เจงพิบูลพงศ์
- วัตถุประสงค์
- เพื่อส่งเสริมกิจกรรรมพหุวัฒนธรรม
- งบประมาณที่ขอ: 3,000 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 2,043 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 60คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 64 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.4
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.38
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ผู้จัดควรประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึงมากกว่านี้ และควรจัดกิจกรรมนี้อีกในปีต่อไป
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
เห็นด้วยกับข้อเสนอแนะและจะประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึงมากกว่านี้
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- การจัดการเวลาดำเนินกิจกรรมควรให้กระชับมากกว่านี้
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 3: ยกระดับความเป็นนานาชาติ (Enhancing Internationalization)
- เป้าประสงค์ 1. ยกระดับความเป็นนานาชาติของคณะวิเทศศึกษา (Goal 1: To enhance international credentials
- กลยุทธ์ 1: พัฒนาศักยภาพด้านภาษา และส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรมให้กับนักศึกษาและบุคลากร (Tactic 1: To improve students’ and staff’s foreign language competencies and multi-cultural understanding)
โครงการพัฒนาบุคลากรด้านงานวิจัย โครงการ “แนวทางการผลิตผลงานทางวิชาการ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ แบบมุ่งเป้าสาขาวิชาภาษาจีน”
- วันที่จัดกิจกรรม : 22 กุมภาพันธ์ 2566
- กลุ่มงาน: วิจัย (Research)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ: –
- วัตถุประสงค์
- เพื่อเสริมความรู้และเทคนิคการผลิตผลงานทางวิชาการให้แก่ผู้เข้ารับการอบรม
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเพิ่มพูนประสบการณ์ในการผลิตผลงานทางวิชาการ
- เพื่อสนับสนุนให้เกิดการผลิตผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพ
- งบประมาณที่ขอ: –
- งบประมาณใช้จริง: –
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 25 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 25 คน
- คะแนนผลประเมิน:
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 5 คะแนน
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ไม่มี
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
ไม่มี
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- ไม่มี
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 2: ผลิตงานวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคม (Research and Academic Services for Society)
- เป้าประสงค์ 1.พัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายวิชาการในการผลิตผลงานทางวิชาการ (Goal 1: To enhance research skills of faculty members)
- กลยุทธ์ 1: เพิ่มศักยภาพบุคลากรสายวิชาการผลิตผลงานทางวิชาการ (Tactic 1: To support research and academic work in international studies)
- เป้าประสงค์ 2. เป็นองค์กรที่สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชน (Goal 2: To become an organization equipped to strengthen communities)
- กลยุทธ์ 1: ส่งเสริมให้บุคลากรทำงานบริการวิชาการ เพื่อชุมชน (Tactic 1: To encourage academic services for communities)
Beach Hero
- วันที่จัดกิจกรรม : 8 ตุลาคม 2565
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา (FIS)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ: อาจารย์เรืองฉาย เรืองยังมี และสโมสรคณะวิเทศศึกษา
- วัตถุประสงค์
- เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้ตระหนักถึงผลเสียของขยะที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
- เพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะ
- เพื่อลดปริมาณขยะในบริเวณชายหาค
- เพื่อส่งเสริมความสามัคคีในหมู่คณะ
- งบประมาณที่ขอ: 8,075 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 8,075 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 50 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 70 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.5 คะแนน
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.7 คะแนน
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- เรื่องการปรับเวลาให้เหมาะกับสถานการณ์ให้เหมาะสม และ จัดสรรเรื่องน้ำและอาหารให้ดีกว่านี้ หาที่ร่มเมื่อไปกลางแจ้ง
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
ทางสโมสรคณะวิเทศศึกษาจะนำไปรับใช้ในงานครั้งถัด ๆ ไป
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- ไม่มี
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 4: ระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ (Effective Organizational Management)
- เป้าประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการคณะฯให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล (Goal 1: To develop good governance )
- กลยุทธ์ 2: สามารถทำงานได้อย่างเต็มศักยภาพและมีความสุขในการทำงาน (Tactic 2: To support staff to work effectively and happily)
- เป้าประสงค์ 2. ส่งเสริมความสามัคคีและความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร (Goal 2: To encourage harmony and sense of belonging among staff)
- กลยุทธ์ 1: สร้างความสามัคคีและความภาคภูมิใจในความเป็น FIS (Tactic 1: To encourage unity and sense of FIS pride)
- เป้าประสงค์ 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Goal 3: To encourage organizational safety and well-being)
- กลยุทธ์ 2: จัดสิ่งอำนวยความสะดวก ปรับปรุงภูมิทัศน์ และสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน (Tactic 2: To enhance staff’s well-being)
โครงการปัจฉิมนิเทศ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะวิเทศศึกษา
- วันที่จัดกิจกรรม : 23 พฤศจิกายน 2565
- กลุ่มงาน: วิจัย (Research)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- คณบดี
- รักษาการแทนผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและฝึกปฏิบัติงาน
- สโมสรคณะวิเทศศึกษา
- วัตถุประสงค์
- เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่นักศึกษาชั้นปีที่4 คณะวิเทศศึกษา
- เพื่อมอบความประทับใจและความทรงจำที่ให้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะวิเทศศึกษา
- เพื่อนักศึกษาชั้นปีที่4 คณะวิเทศศึกษา มีความพร้อมสำหรับโลกการทำงาน
- เพื่อนักศึกษาชั้นปีที่4 คณะวิเทศศึกษา มีความรักภาคภูมิใจในสถานศึกษา
- งบประมาณที่ขอ: 50,000 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 49,705 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 150 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 150 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.6 คะแนน
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.66 คะแนน
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ปรับเรื่องอาหารให้ดีขึ้นกว่านี้อีก และการบริหารจัดการเวลาให้ดีขึ้น
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
ไม่มี
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- ไม่มี
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 4: ระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ (Effective Organizational Management)
- เป้าประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการคณะฯให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล (Goal 1: To develop good governance )
- กลยุทธ์ 1: พัฒนาระบบบริหารบุคลากรให้มีประสิทธิภาพและธรรมาภิบาล (Tactic 1: To develop effective human resources management systems by applying good governance)
- เป้าประสงค์ 2. ส่งเสริมความสามัคคีและความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร (Goal 2: To encourage harmony and sense of belonging among staff)
- กลยุทธ์ 1: สร้างความสามัคคีและความภาคภูมิใจในความเป็น FIS (Tactic 1: To encourage unity and sense of FIS pride)
- เป้าประสงค์ 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Goal 3: To encourage organizational safety and well-being)
- กลยุทธ์ 2: จัดสิ่งอำนวยความสะดวก ปรับปรุงภูมิทัศน์ และสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน (Tactic 2: To enhance staff’s well-being)
โครงการแชร์ประสบการณ์ “แนวทางการขอทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก”
- วันที่จัดกิจกรรม : 23 พฤศจิกายน 2565
- กลุ่มงาน: วิจัย (Research)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ: –
- วัตถุประสงค์
- เพื่อให้อาจารย์ ได้รับความรู้ทางด้านการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนจากหน่วยงานภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อเปิดโอกาสให้อาจารย์ได้ซักถามแนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนจากหน่วยงานภายนอก
- งบประมาณที่ขอ: –
- งบประมาณใช้จริง: –
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 30 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 19 คน
- คะแนนผลประเมิน: 5 คะแนน
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 5 คะแนน
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ไม่มี
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
ไม่มี
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- ไม่มี
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 2: ผลิตงานวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคม (Research and Academic Services for Society)
โครงการเปิดรั้ว FIS: ประตูสู่ครูแนะแนวมืออาชีพยุคใหม่
- วันที่จัดกิจกรรม : 4 มิถุนายน 2565
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- ผู้รับผิดชอบโครงการ: คณะวิเทศศึกษา
- วัตถุประสงค์
- เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ของคณะวิเทศศึกษาและขยายพื้นที่การรับรู้ของคณะวิเทศศึกษา
สู่ครูแนะแนว- เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักสูตรและการสมัครเข้าศึกษาในคณะวิเทศศึกษา
- เพื่อเผยแพร่ความรู้และเสริมสร้างทักษะการแนะแนวในยุคศตวรรษที่ 21 ให้แก่ครูแนะแนว
- เพื่อสร้างเครือข่ายคณะวิเทศศึกษาและครูแนะแนวระดับมัธยมศึกษา
- งบประมาณที่ขอ: 130,330 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 62,702บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 55 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 30 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.92
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ท่านคิดว่าหลักสูตรของคณะวิเทศศึกษามีจุดเด่นอย่างไร
- มีความหลากหลายของภาษา
- บรรยายเข้าใจง่ายเป็นกันเอง
- นักศึกษาได้มีโอกาสฝึกปฏิบัติจริง มีคณาจาร์ยที่มีความรู้ ความสามารถ
- เด่นด้านภาษา
- เนื้อหาหลักสูตรที่ครอบคลุม และนักศึกษาสามารถนาไปใช้ได้จริง
- มีความหลากหลายทางภาษา และให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
- มีหลักสูตรที่สามารถสร้างวิศวกรทางสังคมออกมาได้เป็นอย่างดี
- ผู้เรียนมีประสบการ์ตรง ได้เรียนรู้แบบ Active learning
- นักศึกษาได้รับประสบการณ์จริงจากการได้เรียน เป็นหลักสูตรนานาชาติทาให้นักศึกษาสามารถที่จะ ทำงานได้ในอนาคต
- ความหลากหลายของวัฒธรรม
- เด่นในด้านภาษาและวัฒนธรรมเจ้าของภาษา
- ภาษาและวัฒนธรรม
- ท่านคิดว่าคณะควรปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรเพิ่มเติมไปในทิศทางใด
- ดีอยู่แล้ว
- อยากให้มีทุนให้นักเรียนเพิ่มมากขึ้น
- มีโครงการลดค่าเทอมสาหรับ นัก้รียนที่เรียนดี ตลอดหลักสูตร
- อาจจะเพิ่มทุนการศึกษาก่อนเข้าเรียน
- ควรมี workshop สะท้อนผล ให้ศิษย์เก่าได้ถ่ายทอดประสบการณ์ ทำให้รุ่นน้องมีเป้าหมายมากขึ้น
- อยากให้มีหลักสูตรที่หลากหลายกว่านี้
- ท่านคิดว่าปัจจัยหลักในการพิจารณาเลือกคณะเพื่อศึกษาต่อของนักเรียนคืออะไร
- ค่าใช้จ่าย
- เป็นคณะที่เรียนแล้วสนุกความหลายของเอกวิชา
- อาชีพ ความสนใจ ทุนทรัพย์
- เมื่อจบไป มีงานรองรับ
- ประสบการณ์ตรง ทักษะทางภาษาที่โดดเด่น
- ความสนใจ ความถนัดของนักเรียน
- ข้อเสนอแนะอื่นๆ
- จัดงานได้ดีมาก อยากให้มีต่อเรื่อยๆ
- ควรจัดกิจกรรมต่อไปเรื่อย ๆ กิจกรรมดีมาก ๆ
- การกิจกรรมที่ดีมากให้ความรู้ข้อมูลคณะ ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม
- อยากให้จัดวันอบรมมากกว่านี้
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ: พิจารณาเรื่องกิจกรรมและวันเวลาในการอบรม
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- จำนวนผู้สมัครกับจำนวนผู้มาร่วมงานจริง
- เนื่องจากผู้ที่ได้สมัครไม่มาร่วมงาน ทำให้เกิดปัญหาเรื่องค่าใช้จ่าย เช่น ค่าห้องพัก ที่จะต้องจองห้องพักกับทางโรงแรมไปก่อน บางโรงแรมอาจไม่ให้ยกเลิกหรือลดจำนวนห้อง จึงต้องจ่ายค่าห้องเต็มจำนวนไป คำแนะนำ * จึงควรทำการยืนยันกับต้นสังกัดทางโรงเรียนอย่างเคร่งครัด
- ผู้ร่วมงานไม่ตรงต่อเวลา
- เนื่องจากผู้ร่วมงานมักล้าช้าในการนัดหมายต่างๆ จึงควรเผื่อเวลาในส่วนนี้ด้วย
- การทัศนศึกษา ณ แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ (แหลมพรหมเทพ)
- อาจไม่น่าสนใจสำหรับครูแนะแนวท้องถิ่นเดียวกันหรือใกล้เคียง เช่น ภูเก็ต พังงา
- ต้องสืบค้นประวัติของแหลมพรหมเทพเชิงลึกยิ่งขึ้น
- คำแนะนำ
- เปลี่ยนแหล่งท่องเที่ยวที่ใหม่ๆ และเหมาะกับผู้เข้าอบรม
- เชิญปราญชย์ท้องถิ่นมาร่วมเล่าเรื่องราวประวิติความเป็นมา
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 1: ผลิตบัณฑิตคุณภาพสูงระดับสากลและตรงกับบริบทของสังคม (Graduates Equipped with International Competence, Sufficient to Respond to a Changing Society)
- เป้าประสงค์ 1. ผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม มีสมรรถนะสากล พร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน และสามารถสร้างงานเองได้ (Goal 1: To produce graduates, equipped with morality, international competence and entrepreneurship for any competitive job market)
- กลยุทธ์ 1: พัฒนา ปรับปรุงและกำกับดูแลหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐาน และทันสมัย ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก (Tactic 1: To monitor programs to high standards appropriate to the modern and changing world)
FIS Phuket Discovery
- วันที่จัดกิจกรรม : 28 กรกฎาคม 2565
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- ผู้รับผิดชอบโครงการ: อาจารย์เรืองฉาย เรื่องยังมี
- วัตถุประสงค์
- เพื่อให้นักศึกษาคณะวิเทศศึกษาทุกคนที่เข้าร่วม กรรมได้ทำความรู้จักกันมากยิ่งขึ้น
- เพื่อให้รุ่นพี่เเละรุ่นน้องเกิดความสนิทสนม กลมเกลียวซึ่งกันและกัน
- เพื่อให้นักศึกษาคณะวิเทศศึกษาได้รู้จักสถานที่ท่องเที่ยวเเละสัมผัสกับวัฒนธรรมของภูเก็ตมากยิ่งขึ้น
- งบประมาณที่ขอ: 61,850 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 45,493 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 185 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 130 คน
- คะแนนผลประเมิน: 75% พอใจมาก 25% พอใจปานกลาง
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- เพิ่มกิจกรรมให้มากขึ้น
- จัดกิจกรรมในสถานที่ร่มหลีกเลี่ยงแดด
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- ในการจัดกิจกรรมครั้งหน้าจะเพิ่มกิจกรรมให้มากขึ้นเพื่อตอบรับความต้องการของผู้ร่วมกิจกรรม
- หลีกเลี่ยงการจัดกิจกรรมกลางแจ้ง
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: มีการเพิ่มกิจกรรมให้มากขึ้น
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 2: ผลิตงานวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคม (Research and Academic Services for Society)
- เป้าประสงค์ 1.พัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายวิชาการในการผลิตผลงานทางวิชาการ (Goal 1: To enhance research skills of faculty members)
- กลยุทธ์ 2: สนับสนุนการทำวิจัยและผลงานทางวิชาการด้านนานาชาติศึกษา (Tactic 2: To enhance research skills of faculty members)
- เป้าประสงค์ 2. เป็นองค์กรที่สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชน (Goal 2: To become an organization equipped to strengthen communities)
- กลยุทธ์ 1: ส่งเสริมให้บุคลากรทำงานบริการวิชาการ เพื่อชุมชน (Tactic 1: To encourage academic services for communities)
- เป้าประสงค์ 3. ธำรงรักษา เสริมสร้างคุณค่า และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชาติ (Goal 3: To maintain and to strengthen Thai national culture and make it well-recognized)
- กลยุทธ์ 1: บูรณาการความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ด้านศิลปวัฒนธรรมไทยและนานาชาติ (Tactic 1: To integrate teaching with research into Thai national culture and international studies )
Chinese Traditional Childhood games
- วันที่จัดกิจกรรม : 10 กันยายน 2565
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา (FIS)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- Mr. Wanli Zheng
- วัตถุประสงค์
- This activity aims to let more Thai students to learn and understand Chinese culture in a happy and relax way.
- Practice and improve Thai students speak Chinese skills with Chinese students.
- To make friends between Thai students and Chinese students.
- Helping students to learn the teamwork skills from this activity.
- งบประมาณที่ขอ: 3,500 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 2,623 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 85 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 73 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.6 คะแนน
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.6 คะแนน
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ไม่มี
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
ไม่มี
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- ไม่มี
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 3: ยกระดับความเป็นนานาชาติ (Enhancing Internationalization)
- เป้าประสงค์ 1. ยกระดับความเป็นนานาชาติของคณะวิเทศศึกษา (Goal 1: To enhance international credentials
- กลยุทธ์ 1: พัฒนาศักยภาพด้านภาษา และส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรมให้กับนักศึกษาและบุคลากร (Tactic 1: To improve students’ and staff’s foreign language competencies and multi-cultural understanding)
โครงการค่ายภาษาฝรั่งเศสและภาษาญี่ปุ่น: Plearn (play and learn: เพลิน) with FIS for Students from Sinagarindra the Princess Mother School
- วันที่จัดกิจกรรม : 3 – 4 กันยายน 2565
- กลุ่มงาน: บริการวิชาการ (Academic Services)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- อาจารย์นภชา ประภาวดี
- อาจารย์ปาริชาต เจริญวิวัฒนศรี
- นายปัยซูลบัสรี บินฮายีอาแว
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
- นางวราพร โตญาติมาก
- วัตถุประสงค์
- เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาที่สาม (ภาษาฝรั่งเศส และภาษาญี่ปุ่น) ผ่านกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
- เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารและการจัดการสารสนเทศในการนำเสนอผลงานของตนเอง
- เพื่อพัฒนาทักษะการมีส่วนร่วมทำงานกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
- งบประมาณที่ขอ: 30,000 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 28,464 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 52 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 52 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.65 คะแนน
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.69 คะแนน
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- อยากให้เพิ่มเวลาการฝึกการนำเสนอและตัดต่อวิดีโอ
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
ไม่มี
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- จำนวนนักเรียนมากเกินไปเลยใช้เวลานาน ควรกำหนดนักเรียนให้เหมาะสมกับกิจกรรม
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 2: ผลิตงานวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคม (Research and Academic Services for Society)
- เป้าประสงค์ 2. เป็นองค์กรที่สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชน (Goal 2: To become an organization equipped to strengthen communities)
- กลยุทธ์ 1: ส่งเสริมให้บุคลากรทำงานบริการวิชาการ เพื่อชุมชน (Tactic 1: To encourage academic services for communities)
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมการทำอาหารเกาหลีและมารยาทการทานอาหารเกาหลี
- วันที่จัดกิจกรรม : 1 กรกฏาคม 2565
- กลุ่มงาน: สาขาเอเชียศึกษา (Asian Studies)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- อาจาราย์เนติมา บูรพาศิริวัฒน์
- อาจารย์ปุญชิดา แสนพิทักษ์
- อาจารย์คิม ยองซู
- วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ของนักศึกษาให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมในการรับประทานอาหารของคนเกาหลี และการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
- เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำความรู้ที่ได้รับมาเป็นฐานการพัฒนาความคิดเชิงวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างและความสัมพันธ์เกี่ยวกับวัฒนธรรมอาหารเกาหลีและอาหารไทย วิถีชีวิตของคนเกาหลีและคนไทย
- เพื่อสร้างความตระหนักและเห็นความสำคัญของความหลากหลายทางวัฒนธรรม วิถีชีวิตของคนเกาหลี สังคมเกาหลีและการปรับตัวใช้ชีวิตในต่างแดนได้อย่างมีความสุข
- เพื่อให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ร่วมกับชุมชนเกาหลีในท้องถิ่น
- งบประมาณที่ขอ: 7,100 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 7,100 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 14 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 14 คน
- คะแนนผลประเมิน: 5 คะแนน
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.71 คะแนน
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- หวังว่าจะมีกิจกรรมครั้งต่อไปอีก
- ทางอาจารย์ผู้สอนให้ความรู้ดีมากเลยค่ะ เข้าใจง่าย
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
ควรจัดกิจกรรมนี้อย่างต่อเนื่อง
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- ครั้งหน้าควรนำนศ.สาขาอื่นไปร่วมกิจกรรมด้วยได้
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 3: ยกระดับความเป็นนานาชาติ (Enhancing Internationalization)
- เป้าประสงค์ 1. ยกระดับความเป็นนานาชาติของคณะวิเทศศึกษา (Goal 1: To enhance international credentials
- กลยุทธ์ 1: พัฒนาศักยภาพด้านภาษา และส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรมให้กับนักศึกษาและบุคลากร (Tactic 1: To improve students’ and staff’s foreign language competencies and multi-cultural understanding)
Asean Week 2022 “Masterchef Thai & ASEAN”
- วันที่จัดกิจกรรม : 29 สิงหาคม 2565
- กลุ่มงาน: สาขาเอเชียศึกษา (Asian Studies)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- ดร.สุดฤดี บำรุง
- ดร.นวลนุช เขียวหวาน
- อาจารย์วันจรัตน์ เดชวิลัย
- อาจารย์เรวดี คงสุวรรณ
- วัตถุประสงค์
- การเข้าร่วมโครงการ ฯ ช่วยให้ท่าน มีความตระหนักรู้ ความเข้าใจอันดีในประเทศสมาชิกอาเซียน
- การเข้าร่วมโครงการ ฯ ช่วยให้ท่านได้มีโอกาสอยู่ในบริบทของพหุวัฒนธรรมและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกอาเซียน
- การเข้าร่วมโครงการ ฯ ช่วยส่งเสริมให้ท่านตระหนักถึงความสำคัญของความเป็นพลเมืองอาเซียนผ่านกิจกรรมวิชาการและนิทรรศการ
- งบประมาณที่ขอ: 7,500 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 6,620 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 70 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 120 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.41
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.4
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- สถานที่ไม่เหมาะสม ควรจัดในที่โล่ง
- ไมค์ของพิธีกรเบาเกินไป
- อยากให้มีกิจกรรมอย่างนี้บ่อย ๆ
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงกิจกรรมอื่น ๆ ในอนาคต
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- คณะควรจะมีอุปกรณ์ในการจัดงานที่อำนวยความสะดวกมากกว่านี้เช่น ชุดเครื่องเสียงที่เหมาะกับสถานที่ การตรวจเช็คระบบไฟฟ้าที่น่าจะขยายขนาดให้รองรับกับการทำกิจกรรมที่ต้องใช้ไฟฟ้ามากในคราวเดียวกัน ไม่เฉพาะการทำอาหาร การมีจขนาดใหญ่เมื่อทำกิจกรรมแล้วจะได้เห็นภาพที่ทั่วถึงกัน
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 3: ยกระดับความเป็นนานาชาติ (Enhancing Internationalization)
- เป้าประสงค์ 1. ยกระดับความเป็นนานาชาติของคณะวิเทศศึกษา (Goal 1: To enhance international credentials
- กลยุทธ์ 3: การสร้างการรับรู้คณะวิเทศศึกษาในระดับนานาชาติ (Tactic 3: To get FIS internationally recognized)
โครงการพัฒนาเทคนิคการสอนและออกแบบบทเรียนออนไลน์ สำหรับผู้สอนภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาฝรั่งเศส ในจังหวัดภาคใต้ของไทย
- วันที่จัดกิจกรรม : 6-7, 13-14, 20-21 สิงหาคม 2565
- กลุ่มงาน: บริการวิชาการ (Academic Services)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการวิชาการ
นางสาวปาริชาต เจริญวิวัฒนศรี
นางสาวนภชา ประภาวดี
นายปัยซูลบัสรี บินฮายีอาแว
นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล
นางสาววาธินี รอดสกุล
นายเกรียงศักดิ์ พุฒนวล
นายกิตติศักดิ์ สงเอียด
นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและผู้ประสานงาน
- วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาศักยภาพในการออกแบบบทเรียนและสื่อมัลติมีเดียแบบมีส่วนร่วมในการเรียน การสอนภาษาต่างประเทศโดยใช้ห้องสตูดิโอ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางด้านการสอนภาษาให้มีความสามารถในการออกแบบบทเรียนออนไลน์ได้
- เพื่อประชาสัมพันธ์ให้บุคคลทั่วไปรู้จักคณะวิเทศศึกษา
- งบประมาณที่ขอ: 90,760 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 80,580 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 60 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 55 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.95
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 4.95
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- คณะฯ ควรจัดโครงการอีกในอนาคตและขยายระยะเวลาในการอบรมเป็น 3 วัน
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- คณะฯ ไม่สนับสนุนให้จัดโครงการบริการวิชาการแบบให้เปล่าอย่างต่อเนื่อง
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: –
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 2: ผลิตงานวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคม (Research and Academic Services for Society)
- เป้าประสงค์ 1.พัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายวิชาการในการผลิตผลงานทางวิชาการ (Goal 1: To enhance research skills of faculty members)
- กลยุทธ์ 1: เพิ่มศักยภาพบุคลากรสายวิชาการผลิตผลงานทางวิชาการ (Tactic 1: To support research and academic work in international studies)
- เป้าประสงค์ 2. เป็นองค์กรที่สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชน (Goal 2: To become an organization equipped to strengthen communities)
- กลยุทธ์ 1: ส่งเสริมให้บุคลากรทำงานบริการวิชาการ เพื่อชุมชน (Tactic 1: To encourage academic services for communities)
การใช้โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม EndNote ขั้นพื้นฐาน
- วันที่จัดกิจกรรม : 27 กรกฏาคม 2565
- กลุ่มงาน: วิจัย (Research)
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- วัตถุประสงค์
- เพื่อให้อาจารย์เข้าใจหลักการและวิธีใช้โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม EndNote ซึ่งเป็นเครื่องมือเพื่อช่วยในการผลิตงานวิจัยให้เกิดประสิทธิภาพ
- เพื่อให้อาจารย์ใช้ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปปรับใช้ในการจัดการบรรณานุกรมอย่างมีประสิทธิภาพ
- งบประมาณที่ขอ: 700 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 700 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 28 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 28 คน
- คะแนนผลประเมิน: 5
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม:
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการทำวิจัย KM งานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการต่างๆ
- อบรมการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
- workshop style would be an interesting choice.
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ: –
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: –
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 2: ผลิตงานวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคม (Research and Academic Services for Society)
- เป้าประสงค์ 1.พัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายวิชาการในการผลิตผลงานทางวิชาการ (Goal 1: To enhance research skills of faculty members)
- กลยุทธ์ 2: สนับสนุนการทำวิจัยและผลงานทางวิชาการด้านนานาชาติศึกษา (Tactic 2: To enhance research skills of faculty members)
- เป้าประสงค์ 2. เป็นองค์กรที่สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชน (Goal 2: To become an organization equipped to strengthen communities)
- กลยุทธ์ 1: ส่งเสริมให้บุคลากรทำงานบริการวิชาการ เพื่อชุมชน (Tactic 1: To encourage academic services for communities)
- เป้าประสงค์ 3. ธำรงรักษา เสริมสร้างคุณค่า และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชาติ (Goal 3: To maintain and to strengthen Thai national culture and make it well-recognized)
- กลยุทธ์ 1: บูรณาการความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ด้านศิลปวัฒนธรรมไทยและนานาชาติ (Tactic 1: To integrate teaching with research into Thai national culture and international studies )
FIS Welcome night party & FIS Friendship day
- วันที่จัดกิจกรรม : 8 สิงหาคม 2565
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- ผู้รับผิดชอบโครงการ: อาจารย์เรืองฉาย เรื่องยังมี
- วัตถุประสงค์
- เพื่อให้นักศึกษาคณะวิเทศศึกษาทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ทําความรู้จักกันมากยิ่งขึ้น
- เพื่อให้รุ่นพี่และรุ่นน้องเกิดความสนิทสนม กลมเกลียวซึ่งกันและกัน
- เพื่อให้นักศึกษาคณะวิเทศศึกษาได้ผ่อนคลาย
- งบประมาณที่ขอ: 92,500 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 92,500 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 250 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 400 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4
- คะแนนประเมินที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรม: 5
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- การดำเนินการกิจกรรมมีการล่าช้าเล็กน้อย
- เครื่องเสียงดังเกินไป
- ควรจัดคอนเสิร์ตให้นานกว่านี้
- เวลาเลิกกิจกรรมดึกเกินไป
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- จัดสรรเวลาในการดำเนินกิจกรรมให้ดีกว่าเดิม
- ลดระดับของเครื่องเสียงลงเล็กน้อย
- เพิ่มระยะเวลาการจัดคอนเสิร์ต
- ให้จัดกิจกรรมเร็วขึ้นเพื่อที่เวลาเลิกกิจกรรมไม่ดึกจนเกินไป
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- สตาฟไม่เพียงพอ กิจกรรมครั้งหน้าควรเพิ่มจำนวนสตาฟมากกว่านี้
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 2: ผลิตงานวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคม (Research and Academic Services for Society)
- เป้าประสงค์ 1.พัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายวิชาการในการผลิตผลงานทางวิชาการ (Goal 1: To enhance research skills of faculty members)
- กลยุทธ์ 1: เพิ่มศักยภาพบุคลากรสายวิชาการผลิตผลงานทางวิชาการ (Tactic 1: To support research and academic work in international studies)
- เป้าประสงค์ 2. เป็นองค์กรที่สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชน (Goal 2: To become an organization equipped to strengthen communities)
- กลยุทธ์ 1: ส่งเสริมให้บุคลากรทำงานบริการวิชาการ เพื่อชุมชน (Tactic 1: To encourage academic services for communities)
- เป้าประสงค์ 3. ธำรงรักษา เสริมสร้างคุณค่า และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชาติ (Goal 3: To maintain and to strengthen Thai national culture and make it well-recognized)
- กลยุทธ์ 1: บูรณาการความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ด้านศิลปวัฒนธรรมไทยและนานาชาติ (Tactic 1: To integrate teaching with research into Thai national culture and international studies )
โครงการปฐมนิเทศประจำปีนักศึกษาจีนและเฉลิมฉลองเทศกาลตรุษจีน
- วันที่จัดกิจกรรม : 26 ธันวาคม 2565
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- รายชื่อกรรมการ
- คณบดีคณะวิเทศศึกษา
- รองคณบดีฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
- นายเกรียงศักดิ์ พุฒนวล
- นางสาววาธิณี รอดสกุล
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นายกิตติศักดิ์ สงเอียด
- นายปัยซูลบัสรี บินฮายีอาแว
- นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล
ที่ปรึกษา
ประธาน
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
- วัตถุประสงค์
- เพื่อสืบสานประเพณีอันดีงาม
- เพื่อสร้างความสัมพันธ์และความอบอุ่นให้แก่นักศึกษาชาวจีน
- เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรม
- งบประมาณที่ขอ: 29,000 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 11,610 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 40 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 30 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.93
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน: มีกิจกรรมในโครงการมากกว่านี้&i
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ: จะเพิ่มกิจกรรมให้นักศึกษาได้ร่วมมากขึ้น เช่น ด้านดนตรี หรือกีฬา
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: ควรมีทุกปีเพื่อให้นักศึกษาชาวจีนที่ไม่ได้กลับบ้าน ได้ร่วมประเพณีตรุษจีน ทั้งยังได้พบปะกับเพื่อนๆ และอาจารย์ เพื่อให้คำแนะนำต่างๆ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้แก่กัน
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 3: ยกระดับความเป็นนานาชาติ (Enhancing Internationalization)
- เป้าประสงค์ 1. ยกระดับความเป็นนานาชาติของคณะวิเทศศึกษา
- กลยุทธ์ 1: พัฒนาศักยภาพด้านภาษา และส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรมให้กับนักศึกษาและบุคลากร
โครงการเสวนาเรื่อง International Leadership and organizational behavior
- วันที่จัดกิจกรรม : 9 กุมภาพันธ์ 2565
- กลุ่มงาน: สาขาเอเชียศึกษา คณะวิเทศศึกษา
- ผู้รับผิดชอบโครงการ: ดร.นวลนุช เขียวหวาน
- วัตถุประสงค์
- เพื่อเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็น หัวข้อ International leadership and organizational behavior
- เพื่อให้นักศึกษาฝึกการวิเคราะห์สาระสำคัญจากการเสวนาและประยุกต์ใช้ในกิจกรรม PBL
- งบประมาณที่ขอ: 2,700 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 2,700 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 63 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 60คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.44
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน: นักศึกษาอยากให้จัดกิจกรรมลักษณะนี้อีก และนักศึกษาคิดว่าถ้าสถานการณ์เหมาะสมที่จะเชิญวิทยากรให้เดินทางมาก็อยากให้จัดแบบออนไซต์ด้วย
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ: รับไว้พิจารณาดำเนินการต่อไป
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: –
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 1: ผลิตบัณฑิตคุณภาพสูงระดับสากลและตรงกับบริบทของสังคม
- เป้าประสงค์ 1. ผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม มีสมรรถนะสากล พร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน และสามารถสร้างงานเองได้
- กลยุทธ์ 1: พัฒนา ปรับปรุงและกำกับดูแลหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐาน และทันสมัย ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
การสัมมนาวิชาการ เรื่อง ชวนคุยชวนคิด “แนวทางการพัฒนาทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของครูสู่ผู้เรียน”
- วันที่จัดกิจกรรม : 2 มีนาคม 2565
- กลุ่มงาน: สาขาเอเชียศึกษา คณะวิเทศศึกษา
- ผู้รับผิดชอบโครงการ: ดร.นวลนุช เขียวหวาน
- วัตถุประสงค์
- เพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกในบริบทการศึกษา
- เพื่อสร้างเครือข่ายทางด้านวิชาการกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- งบประมาณที่ขอ: –
- งบประมาณใช้จริง: –
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 15 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 15 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.91
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- การจัดประชุมรูปแบบจำกัดคน จำกัดเวลา ทำให้ประสิทธิภาพในการฟัง การพูดคุยกันแบบเรียบง่าย ได้แลกเปลี่ยน และให้โอกาสกับสมาชิกทุกคนได้นำเสนอ ดูอบอุ่นมากค่ะ
- อยากให้ครูมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนมากขึ้น
- ขอบคุณทีมผู้จัดเป็นอย่างสูงค่ะ ขอชื่นชมและเป็นกำลังให้ค่ะ
- ขอขอบคุณสำหรับโครงการดี ๆ ค่ะ
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ: นำไปปรับใช้ต่อไป
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: ควรมีทุกปีเพื่อให้นักศึกษาชาวจีนที่ไม่ได้กลับบ้าน ได้ร่วมประเพณีตรุษจีน ทั้งยังได้พบปะกับเพื่อนๆ และอาจารย์ เพื่อให้คำแนะนำต่างๆ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้แก่กัน
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 2: ผลิตงานวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสังคม
- เป้าประสงค์ 1.พัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายวิชาการในการผลิตผลงานทางวิชาการ
- กลยุทธ์ 1: เพิ่มศักยภาพบุคลากรสายวิชาการผลิตผลงานทางวิชาการ
- เป้าประสงค์ 2. เป็นองค์กรที่สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับชุมชน
- กลยุทธ์ 1: ส่งเสริมให้บุคลากรทำงานบริการวิชาการ เพื่อชุมชน
โครงการสืบสานวัฒนธรรมไทยวันสงกรานต์
- วันที่จัดกิจกรรม : 8 เมษายน 2565
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- รองคณบดีฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์
- นางสาวประภัสรา กิจไพบูลย์ทวี
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นายเกรียงศักดิ์ พุฒนวล
- นายกิตติศักดิ์ สงเอียด
- Mr. Wanli Zheng
- นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล
ประธาน
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
- วัตถุประสงค์
- เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสืบสานศิลปะและวัฒนธรรมของไทย
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการทำงานร่วมกันและสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง บุคลากร และนักศึกษาคณะวิเทศศึกษา
- เพื่อถ่ายทอดวัฒนธรรมไทยให้แก่นักศึกษาชาวต่างชาติได้รู้จัก
- งบประมาณที่ขอ: 5,000 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 602 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 15 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 13 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.9
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- Great! Happiness to all FIS members.
- ถ้าสถานการณ์โควิดดีขึ้น น่าจะมีกิจกรรมเรียนรู้วัฒนธรรมนี้ให้นักศึกษาต่างชาติเพิ่มเติม
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ: จัดกิจกรรมเรียนรู้วัฒนธรรมนี้ให้นักศึกษาต่างชาติ
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: ควรมีทุกปีเพื่อให้นักศึกษาชาวจีนที่ไม่ได้กลับบ้าน ได้ร่วมประเพณีตรุษจีน ทั้งยังได้พบปะกับเพื่อนๆ และอาจารย์ เพื่อให้คำแนะนำต่างๆ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้แก่กัน
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 4: ระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ
- เป้าประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการคณะฯให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล
- กลยุทธ์ 2: สามารถทำงานได้อย่างเต็มศักยภาพและมีความสุขในการทำงาน
- เป้าประสงค์ 2. ส่งเสริมความสามัคคีและความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร
- กลยุทธ์ 1: สร้างความสามัคคีและความภาคภูมิใจในความเป็น FIS
- เป้าประสงค์ 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน
- กลยุทธ์ 2: จัดสิ่งอำนวยความสะดวก ปรับปรุงภูมิทัศน์ และสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน
ความพึงพอใจต่อการใช้ลานกิจกรรมหน้าสำนักงานคณบดีคณะวิเทศศึกษา
- วันที่จัดกิจกรรม : –
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- ผู้รับผิดชอบโครงการ: –
- วัตถุประสงค์
- เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการอาคารสถานที่บริเวณลานกิจกรรมหน้าสำนักงานคณบดีคณะวิเทศศึกษา
- เพื่อศึกษาหาแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงอาคารสถานที่และการจดัสิ่งแวดล้อมของลานกิจกรรมหน้าสำนักงานคณบดีคณะวิเทศศึกษา
- งบประมาณที่ขอ: –
- งบประมาณใช้จริง: –
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 50 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 58 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.9
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ควรเพิ่มแสงสว่างเพื่อให้สามารถอ่านหนังสือ ทำกิจกรรม ได้ทั้งกลางวันและกลางคืน
- หากไม่มีลมพัดผ่านจะร้อนมาก พัดลม 2 ตัวอาจจะไม่เพียงพอ
- บริเวณโดยรอบมียุงมาก ควรมีการกำจัดยุงหรือมีต้นไม้ที่ช่วยไล่ยุง
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- พัดลม ขอดูการใช้งานไปสักระยะเวลาหนึ่งก่อน อาจจะพิจารณาเพิ่มเติม หรือแนวทางอื่น เช่น ไอน้ำ
- ระบบอินเทอร์เน็ต กำลังมีการติดตั้งใหม่ การใช้งานจะสะดวกรวดเร็วขึ้นในเดือนหน้า
- ถังขยะ ยังขอจำกัดสถานที่อยู่เพียงแค่ในห้องน้ำ และหน้าลิฟต์ เพื่อความสวยงาม เป็นระเบียบ และลดกลิ่น
- ยุง จะหารือกับทางเขตดูว่าสามารถพ่นยาได้ถี่กว่าเดือนละครั้งหรือไม่
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: –
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 4: ระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ
- เป้าประสงค์ 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน
- กลยุทธ์ 2: จัดสิ่งอำนวยความสะดวก ปรับปรุงภูมิทัศน์ และสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน
โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 5 ปี พ.ศ.2566-2570
- วันที่จัดกิจกรรม : 25 เมษายน 2565
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- คณบดีคณะวิเทศศึกษา
- รองคณบดีฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์
- นางสาวประภัสรา กิจไพบูลย์ทวี
- นางสาวนารีรัตน์ จันทน์แดง
- นางสาวน้ำฝน เอ่งฉ้วน
- นางสาวชุลีพร ประทีป ณ ถลาง
- นายปัยซูลบัสรี บินฮายีอาแว
- นางวราพร โตมากญาติ
- นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นางสาววาธิณี รอดสกุล
- นายเกรียงศักดิ์ พุฒนวล
- นายกิตติศักดิ์ สงเอียด
- นางสาวณิชารีย์ ตรีธารมธุรส
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
ประธานกรรม
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
- วัตถุประสงค์
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของบุคลากรภายในคณะในการวางแผนเพื่อพัฒนาร่วมกัน
- เพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและสร้างความสามัคคีภายในองค์กร
- งบประมาณที่ขอ: 28800
- งบประมาณใช้จริง: 14820
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 60 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 55 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.74
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- ควรใข้เวลาให้น้อยลงกว่านี้
- ยอดเยี่ยม ควรจัดทุกปี เพราะเทรนด์โลกเปลี่ยนตลอดเวลา
- สนุก ถึงแม้ว่าจะมีการหยอกล้อกันเป็นระยะๆ คลายเครียดดี ได้งานด้วย
- ระยะเวลาจัดโครงการค่อนข้างนานอาจทำให้เกิดความน่าเบื่อ
- อาจเตรียมความพร้อมผู้เข้าร่วมโครงการในเบื้องต้นก่อนดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมเป็นไปอย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- จัดเวลาของกิจกรรมให้กระชับมากกว่านี้
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- อาจจะจัดสรรเวลาให้กระชับ เพื่อลดทอนเวลาให้สั้นลงไม่ให้เกิดความเบื่อหน่ายแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 4: ระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ (Effective Organizational Management)
- เป้าประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการคณะฯให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล (Goal 1: To develop good governance)
- กลยุทธ์ 2: สามารถทำงานได้อย่างเต็มศักยภาพและมีความสุขในการทำงาน (Tactic 2: To support staff to work effectively and happily)
- เป้าประสงค์ 2. ส่งเสริมความสามัคคีและความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร (Goal 2: To encourage harmony and sense of belonging among staff)
- กลยุทธ์ 2: ส่งเสริมการสื่อสารภายในองค์กร (Tactic 2: To enhance internal communication)
- เป้าประสงค์ 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Goal 3: To encourage organizational safety and well-being)
- กลยุทธ์ 2: จัดสิ่งอำนวยความสะดวก ปรับปรุงภูมิทัศน์ และสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน (Tactic 2: To enhance staff’s well-being)
สัปดาห์พัฒนาบุคลากร: Nutrition Tips for Office Workers.
- วันที่จัดกิจกรรม : 17 พฤษภาคม 2565
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- คณบดีคณะวิเทศศึกษา
- รองคณบดีฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์
- รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
- ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ
- อาจารย์ปาริชาต เจริญวิวัฒนศรี
- อาจารย์สุรีรัตน์ จิตตเสถียร
- นางสาวประภัสรา กิจไพบูลย์ทวี
- นางสาวนารีรัตน์ จันทน์แดง
- นางสาวเอมิกา พจน์สมพงษ์
- นางสาวน้ำฝน เอ่งฉ้วน
- นางสาวชุลีพร ประทีป ณ ถลาง
- นายปัยซูลบัสรี บินฮายีอาแว
- นางวราพร โตญาติมาก
- นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นางสาววาธิณี รอดสกุล
- นายเกรียงศักดิ์ พุฒนวล
- นายกิตติศักดิ์ สงเอียด
- Mr. Wanli Zheng
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
ประธานกรรม
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
- วัตถุประสงค์
- Personnel development in physical health and safety awareness in the workplace.
- งบประมาณที่ขอ: 91,700 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 11,760 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 60 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 58 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.6
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- Most of the information was very basic, suitable for high school level.
- There are many good documentary videos on YouTube that have more advanced information, for example covering Campbell’s research on the China study, and the benefits of a whole food plant based diet.
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- Most of the information was very basic, suitable for high school level. There are many good documentary videos on YouTube that have more advanced information, for example covering Campbell’s research on the China study, and the benefits of a whole food plant based diet.
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมยังรู้สึกว่าไม่ได้รับความรู้ที่ตรงประเด็นกับหัวข้อจากผู้วิจัยมากนัก ในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไปผู้จัดอาจจะต้องซักซ้อมความเข้าใจและอาจจะขอดูเอกสารประกอบการบรรยายก่อน (หากสามารถทำได้) เพื่อจะได้มั่นใจว่าหัวข้อการบรรยายตอบสนองวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรมอย่างครบถ้วน
- อาจจะจัดสรรเวลาให้กระชับ เพื่อลดทอนเวลาให้สั้นลงไม่ให้เกิดความเบื่อหน่ายแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
- ยุทธศาสตร์ที่ 4: ระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ (Effective Organizational Management)
- เป้าประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการคณะฯให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล (Goal 1: To develop good governance)
- กลยุทธ์ 2: สามารถทำงานได้อย่างเต็มศักยภาพและมีความสุขในการทำงาน (Tactic 2: To support staff to work effectively and happily)
- เป้าประสงค์ 2. ส่งเสริมความสามัคคีและความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร (Goal 2: To encourage harmony and sense of belonging among staff)
- กลยุทธ์ 1: สร้างความสามัคคีและความภาคภูมิใจในความเป็น FIS (Tactic 1: To encourage unity and sense of FIS pride)
- เป้าประสงค์ 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Goal 3: To encourage organizational safety and well-being)
- กลยุทธ์ 3: การส่งเสริมสุขภาพที่ดี (Tactic 3: to promote good health)
Exercise and Beginner yoga
- วันที่จัดกิจกรรม : 17 พฤษภาคม 2565
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- คณบดีคณะวิเทศศึกษา
- รองคณบดีฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์
- รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
- ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ
- อาจารย์ปาริชาต เจริญวิวัฒนศรี
- อาจารย์สุรีรัตน์ จิตตเสถียร
- นางสาวประภัสรา กิจไพบูลย์ทวี
- นางสาวนารีรัตน์ จันทน์แดง
- นางสาวเอมิกา พจน์สมพงษ์
- นางสาวน้ำฝน เอ่งฉ้วน
- นางสาวชุลีพร ประทีป ณ ถลาง
- นายปัยซูลบัสรี บินฮายีอาแว
- นางวราพร โตญาติมาก
- นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นางสาววาธิณี รอดสกุล
- นายเกรียงศักดิ์ พุฒนวล
- นายกิตติศักดิ์ สงเอียด
- Mr. Wanli Zheng
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
ประธานกรรม
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
- วัตถุประสงค์
- Personnel development in physical health and safety awareness in the workplace.
- งบประมาณที่ขอ: 91,700 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 11,760 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 60 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 54 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.6
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- Yoga again.
- Meditation
- Continue with yoga step by step (start from the basic) and frequently arrange after working hours (maybe once or twice a week)
- Outdoor outing
- Cardio Dance Workout 🤸🏻♂️
- A pension plan for foreign teachers who may have work at the Faculty for many years but are not currently entitled to receive any more than the minimum state pension.
- Still be the yoga
- Kindly arrange yoga classes for beginner as appropriate.
- Cooking healthy food and Zumba
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ:
- If the activity can be arranged in the wider area or in a sport complex, it would be great.
- Foreign workers who stay for many years should be entitled to the same pension plan as Thai staff who work for the same number of years. This would greatly improve the mental and physical wellness and loyalty of staff.
- Yoga session was great.
- This activity is good. I hope to make with episode II
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม:
- การตอบรับจากผู้เข้าร่วมเป็นไปในทางบวก คณะควรจะพิจารณาจัดกิจกรรมในลักษณะใกล้เคียงกันอย่างต่อเนื่อง
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 4: ระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ (Effective Organizational Management)
- เป้าประสงค์ 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Goal 3: To encourage organizational safety and well-being)
- กลยุทธ์ 3: การส่งเสริมสุขภาพที่ดี (Tactic 3: to promote good health)
สัปดาห์พัฒนาบุคลากร: กิจกรรมฝึกอบรมดับเพลิงหลักสูตรการดับเพลิงเบื้องต้น
- วันที่จัดกิจกรรม : 18 พฤษภาคม 2565
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- ผู้รับผิดชอบโครงการ:
- คณบดีคณะวิเทศศึกษา
- รองคณบดีฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์
- รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
- ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ
- อาจารย์ปาริชาต เจริญวิวัฒนศรี
- อาจารย์สุรีรัตน์ จิตตเสถียร
- นางสาวประภัสรา กิจไพบูลย์ทวี
- นางสาวนารีรัตน์ จันทน์แดง
- นางสาวเอมิกา พจน์สมพงษ์
- นางสาวน้ำฝน เอ่งฉ้วน
- นางสาวชุลีพร ประทีป ณ ถลาง
- นายปัยซูลบัสรี บินฮายีอาแว
- นางวราพร โตญาติมาก
- นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นางสาววาธิณี รอดสกุล
- นายเกรียงศักดิ์ พุฒนวล
- นายกิตติศักดิ์ สงเอียด
- Mr. Wanli Zheng
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
ประธานกรรม
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
- วัตถุประสงค์
- เพื่อให้บุคลากรตระหนักรู้ด้านความปลอดภัยในสถานที่ทำงาน และมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการปฏิบัติหากเกิดอุบัติภัยในสถานที่ทำงาน
- งบประมาณที่ขอ: 91,700 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 13,105 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 55 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 52 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.53
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน:
- วิทยากรควรสื่อสารทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
- เสียงจากอุปกรณ์ช่วยแปลฟังยาก
- ควรมีการซ้อมรับมือกับสถานการณ์อื่นๆ เพิ่มเติม เช่น การซ้อมอพยพหนีไฟ, การปฐมพยาบาลเบื้องต้น, การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR), การช่วยคนจมน้ำ, การรับมือกับแผ่นดินไหว หรือคลื่นสึนามิ เป็นต้น
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ: –
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: –
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 4: ระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ (Effective Organizational Management)
- เป้าประสงค์ 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Goal 3: To encourage organizational safety and well-being)
- กลยุทธ์ 1: การจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน (Tactic 1: To enhance staff’s personal safety and related emergency management systems)
โครงการประชาสัมพันธ์คณะวิเทศศึกษาทางออนไลน์
- วันที่จัดกิจกรรม : 8 ธันวาคม 2564
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- รายชื่อกรรมการ
- คณบดีคณะวิเทศศึกษา
- รองคณบดีฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์
- ดร.ศิริขวัญ ไผทรักษ์
- ดร.นวลนุช เขียวหวาน
- ดร.วรลักษณ์ บัญชา
- อาจารย์สุรีรัตน์ จิตตเสถียร
- อาจารย์เรืองฉาย เรืองยังมี
- อาจารย์เนติมา บูรพาศิริวัฒน์
- อาจารย์ปุญชิดา แสนพิทักษ์
- นายเกรียงศักดิ์ พุฒนวล
- นายกิตติศักดิ์ สงเอียด
- นางสาววาธิณี รอดสกุล
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
- สโมสรนักศึกษาคณะวิเทศศึกษา
- นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล กรรมการและเลขานุการ
ที่ปรึกษา
ประธาน
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
- วัตถุประสงค์
- เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรของคณะวิเทศศึกษา ให้เป็นที่รู้จักในกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น
- เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ของคณะวิเทศศึกษาและขยายพื้นที่การรับรู้ของคณะวิเทศศึกษาไปสู่จังหวัดอื่น ๆ เพิ่มเติม
- เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักสูตรและการสมัครเข้าศึกษาในคณะวิเทศศึกษา
- งบประมาณที่ขอ: 7,800 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 2,600 บาท
- คะแนนผลประเมิน: 4.2
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน: มีรางวัลน้อย
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ: เพิ่มของรางวัล
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: ผู้ชมชอบเล่มเกมตอบคำถามชิงรางวัล มีคำถามและของรางวัลแจกเยอะๆ
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- อื่นๆ
โครงการประกวดคลิป TikTok หัวข้อ สอนภาษาอาเซียน #Thai&ASEANstudies
- วันที่จัดกิจกรรม : 28 ธันวาคม 2564
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- รายชื่อกรรมการ
- คณบดีคณะวิเทศศึกษา
- ดร.นวลนุช เขียวหวาน
- ดร.ศิริขวัญ ไผทรักษ์
- อาจารย์วันจรัตน์ เดชวิลัย
- อาจารย์สิรินดา โอศิริ
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล
ที่ปรึกษา
ประธาน
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
- วัตถุประสงค์
- เพื่อจัดประกวดคลิปวิดีโอ ผ่านทางแอปพลิเคชัน TikTok
- เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรนานาชาติศึกษา วิชาเอกไทยและอาเซียนศึกษา ให้เป็นที่รู้จักในกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น
- เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ของคณะวิเทศศึกษาและขยายพื้นที่การรับรู้ของคณะวิเทศศึกษาไปสู่พื้นที่อื่น ๆ
- เพื่อสนับสนุนนักเรียนที่มีความคิดสร้างสรรค์ และมีความสามารถด้านภาษา
- งบประมาณที่ขอ: 4,500 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 3,500 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 14 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.1
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน: เกณฑ์หรือกติกา สร้างความสับสนให้ผู้เข้าร่วม
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ: ปรับเกณฑ์หรือกติกาให้เหมาะสม
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: ควรบอกเกณฑ์หรือกติกาให้ชัดเจน
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- อื่นๆ
รายงานกิจกรรมโครงการสืบสานวัฒนธรรมไทยผ่านการประดิษฐ์กระทงจำลอง
- วันที่จัดกิจกรรม : 17 พฤศจิกายน 2565
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- รายชื่อกรรมการ
- คณบดีคณะวิเทศศึกษา
- รองคณบดีฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นายเกรียงศักดิ์ พุฒนวล
- นายกิตติศักดิ์ สงเอียด
- นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล
ที่ปรึกษา
ประธาน
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
- วัตถุประสงค์
- เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสืบสานศิลปะและวัฒนธร รมของไทย
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการทำงานร่วมกันและสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักศึกษาคณะวิเทศศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติ
- เพื่อถ่ายทอดวัฒนธรรมไทยให้แก่นักศึกษาชาวต่างชาติได้รู้จัก
- งบประมาณที่ขอ: 2,000 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 1,165 บาท
- คะแนนผลประเมิน: 4.08
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: มีการละเล่นหรือกิจกรรมที่เกี่ยวโยงกับวันลอยกระทงมากขึ้น
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 3: ยกระดับความเป็นนานาชาติ (Enhancing Internationalization)
- เป้าประสงค์ 1. ยกระดับความเป็นนานาชาติของคณะวิเทศศึกษา
- กลยุทธ์ 1: พัฒนาศักยภาพด้านภาษา และส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรมให้กับนักศึกษาและบุคลากร
โครงการประชาสัมพันธ์แนะแนวการศึกษาต่อมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต (PSU Phuket Education Fairs) ร่วมกัน 5 หน่วยงาน
- วันที่จัดกิจกรรม : 17 ธันวาคม 2564
- กลุ่มงาน: คณะวิเทศศึกษา
- รายชื่อกรรมการ
- อาจารย์ศิริขวัญ ไผทรักษ์
- นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล
- คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์และการตลาด พร้อมนักศึกษาช่วยงาน
- วัตถุประสงค์
- เพื่อสร้างช่องทางการประชาสัมพันธ์และการตลาดในมิติใหม่
- เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนของคณะ
- เพื่อประชาสัมพันธ์ช่องทางการศึกษาต่อให้กลุ่มเป้าหมายและผู้ที่สนใจทราบ อีกทั้งเปิดโอกาศให้สมัครเรียนได้ภายในงาน
- เพื่อให้ข้อมูลด้านการเรียนการสอนและทุนการศึกษาโดยตรงจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง
- งบประมาณที่ขอ: 20,765 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 20,765 บาท
- คะแนนผลประเมิน: –
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน: –
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ: –
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: มีคนสมัครคณะวิเทศศึกษา จากภายในงาน 6 คน
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- อื่นๆ
โครงการพัฒนาทักษะความรู้พื้นฐานภาษาจีน HSK ระดับ 1 – 2 ผ่านแอพพลิเคชั่น
- วันที่จัดกิจกรรม : 6 พฤศจิกายน 2564
- กลุ่มงาน: สาขาเอเชียศึกษา คณะวิเทศศึกษา
- รายชื่อกรรมการ
- คณบดีคณะวิเทศศึกษา
- ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการวิชาการ
- ดร.ศุภชัย แจ้งใจ
- นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นางสาววาธิณี รอดสกุล
- นายเกรียงศักดิ์ พุฒนวล
- นายกิตติศักดิ์ สงเอียด
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
ประธาน
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
- วัตถุประสงค์
- เพื่อจัดอบรมการใช้งานแอพพลิเคชั่นการเรียนรู้ชุดคำศัพท์ภาษาจีน HSK ระดับ 1-2
- เพื่อสำรวจความคิดเห็นกลุ่มตัวอย่างผู้เรียนภาษาจีน ต่อการใช้แอพพลิเคชั่นดังกล่าว และนำข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงแอพพลิเคชั่นให้สมบูรณ์
- งบประมาณที่ขอ: 46,800 บาท
- งบประมาณใช้จริง:
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 60 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 300 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.5
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน: –
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ: –
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: –
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 3: ยกระดับความเป็นนานาชาติ (Enhancing Internationalization)
- เป้าประสงค์ 1. ยกระดับความเป็นนานาชาติของคณะวิเทศศึกษา
- กลยุทธ์ 3: การสร้างการรับรู้คณะวิเทศศึกษาในระดับนานาชาติ
โครงการจัดอบรมภาษาจีนเพื่อสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) ระดับ 3,4 และ 5
- วันที่จัดกิจกรรม : 6 พฤศจิกายน 2564
- กลุ่มงาน: สาขาเอเชียศึกษา คณะวิเทศศึกษา
- รายชื่อกรรมการ
- คณบดีคณะวิเทศศึกษา
- ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการวิชาการ
- Assoc. Prof. Yang Wenbo
- นายกฤณภัช อัศวธีระ
- ดร.นาฏกานต์ ดิลท์ส
- อาจารย์ติณณวิทย์ ลีลาเศรษฐกุล
- ดร.ยุพิน กรัณยเดช
- นางสาวศศิธร เสณีตันติกุล
- นางสาวทาลีน่า อ่าวน้ำ
- นางสาววาธิณี รอดสกุล
- นายเกรียงศักดิ์ พุฒนวล
- นายกิตติศักดิ์ สงเอียด
- นางสาวปิยวณี กิ่งรักษ์
ประธานกรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
- วัตถุประสงค์
- เพื่อช่วยทบทวนคำศัพท์ รูปแบบประโยค และแนะนำเทคนิคต่าง ๆ ในการทำข้อสอบวัดระดับภาษาจีน ให้แก่ผู้เข้าร่วมอบรมเกิดความเข้าใจรูปแบบของข้อสอบในส่วนต่าง ๆ ทั้งสามารถจัดการเวลา ในการทำข้อสอบแต่ละข้อได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัย วิทยาเขต คณะ และหลักสูตรต่าง ๆ ให้แก่ ผู้ที่เข้าอบรม เป็นการเบิกทางนำไปสู่การได้มาซึ่งจำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นในอนาคต
- เพื่อเปิดโอกาสให้วิทยากรได้ใช้ความรู้ความสามารถของตนในการช่วยเหลือและตอบแทนสังคม โดยการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน
- งบประมาณที่ขอ: 257,910 บาท
- งบประมาณใช้จริง: 30,889 บาท
- คาดการณ์จำนวนผู้เข้าร่วม: 90 คน
- จำนวนผู้เข้าร่วมจริง: 17 คน
- คะแนนผลประเมิน: 4.5
- ข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน: –
- การตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ: –
- ข้อเสนอแนะจากผู้จัดกิจกรรม: –
- กิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านใดของคณะวิเทศศึกษา
- ยุทธศาสตร์ที่ 3: ยกระดับความเป็นนานาชาติ (Enhancing Internationalization)
- เป้าประสงค์ 1. ยกระดับความเป็นนานาชาติของคณะวิเทศศึกษา
- กลยุทธ์ 1: พัฒนาศักยภาพด้านภาษา และส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรมให้กับนักศึกษาและบุคลากร
รายงานผลโครงการพัฒนาต้นทุนทางวัฒนธรรมกับวิถีชีวิตของชุมชนบ่านซ้าน
|
ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ (ผู้ประสานงานชุมชนบ่านซ้าน) กรรมการ กรรมการและผู้ประสานงาน |